Page 15 - คู่มือการฝึก ว่าด้วยแบบฝึกบุคคลท่าอาวุธปืนเล็กสั้น ไมโครทาโวร์ และ อาวุธปืนเล็กสั้น เอ็ม 4 เอ 1
P. 15

ค าแนะน าการใช้คู่มือการฝึก





                         ค าบอกแบ่ง (ภาพที่หนึ่ง) เป็นค าบอกที่ใช้เพื่อออกค าสั่ง ส าหรับท่าฝึกที่ส่วนใหญ่แล้วมักจะก าหนดไว้
                ให้ปฏิบัติได้เป็นจังหวะเดียวหรือแบ่งเป็นจังหวะๆ ได้ ค าบอกแบ่งนี้ผู้ให้ค าบอกจะต้องเปล่งเสียงบอกในค าแรก
                ด้วยการลากเสียงค่อนข้างยาวแล้วเว้นจังหวะไว้เล็กน้อยก่อนที่จะเปล่งเสียงบอกในค าหลังด้วยการเน้นเสียงให้หนัก

                และสั้นการเขียนค าบอกชนิดนี้จะแสดงไว้ให้เห็นด้วยการใช้เครื่องหมายยัติภังค์ ( - ) คั่นกลางไว้ระหว่างค าบอก
                ค าหน้าและค าหลัง ตัวอย่างเช่น “ขวา - หัน” เป็นต้น



                                                                    หัน



                                                     ขวา


                                                ภาพที่หนึ่ง  แสดงการบอกค าบอก “แบ่ง”

                         ค าบอกเป็นค าๆ (ภาพที่สอง) เป็นค าบอกที่ใช้เพื่อออกค าสั่ง ส าหรับท่าฝึกที่ส่วนใหญ่แล้วมักจะไม่
                ก าหนดให้ปฏิบัติแบ่งเป็นจังหวะๆ ไว้ (แต่สามารถแบ่งการฝึกออกเป็นตอนๆ ได้) และไม่จ าเป็นต้องใช้ค าบอกยืดยาว

                ซึ่งอาจจะมีหลายพยางค์ก็ได้ จึงจ าเป็นต้องเว้นจังหวะการบอกไว้เป็นตอนๆ หรือค าๆ ค าบอกเป็นค าๆ นี้ผู้ให้ค าบอก
                จะต้องเปล่งเสียงบอกทั้งในค าแรกและค าหลัง ด้วยการวางน้ าหนักเสียงไว้เท่าๆ กัน โดยเว้นจังหวะระหว่างค าไว้

                เล็กน้อย ไม่ต้องลากเสียงยาวในค าแรก และเน้นหนักในค าหลัง เหมือนค าบอกแบ่ง การเขียนค าบอกชนิดนี้จะแสดง





                ไว้ให้เห็นโดยการใช้เครื่องหมายจุลภาค ( , ) คั่นกลางไว้ระหว่างค าบอกค าหน้าและค าหลัง ตัวอย่างเช่น
                “ตามระเบียบ, พัก” เป็นต้น



                                              ภาพที่สอง  แสดงการบอกค าบอก “เป็นค าๆ”




                       ค าบอกรวด (ภาพที่สาม) เป็นค าบอกที่ใช้เพื่อออกค าสั่งส าหรับท่าฝึกที่ส่วนใหญ่แล้ว มักจะไม่ก าหนดให้
                ปฏิบัติแบ่งเป็นจังหวะๆ ไว้ (แต่สามารถแบ่งการฝึกออกเป็นตอนๆ ได้) และเป็นค าสั่งที่ไม่ยืดยาวหรือมีหลายพยางค์











                จึงไม่มีความจ าเป็นต้องแบ่งจังหวะการสั่งไว้เป็นตอนๆ หรือค าๆ ค าบอกรวดนี้ไม่ว่าจะมีกี่พยางค์ก็ตาม ผู้ให้ค าบอก

                จะต้องบอกรวดเดียวจบโดยวางน้ าหนักเสียงเป็นระดับเดียวการเขียนค าบอกชนิดนี้จะแสดงไว้ให้เห็นโดยเขียน





                เป็นค าติดต่อกันทั้งหมดไม่ใช้เครื่องหมายใดๆ ทั้งสิ้น ตัวอย่างเช่น “ถอดหมวก” เป็นต้น






                                               ภาพที่สาม  แสดงการบอกค าบอก “รวด”








         โรงเรียนทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์
          หน่วยทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20