Page 75 - รายงานการประเมินตนเอง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
P. 75
องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการและทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
ตัวบ่งชี้ที่ ๑๓ การบริการวิชาการแกชุมชน
ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด ผู้จัดเก็บรวบรวมข้อมูล/รายงานผลการดำเนินงาน
พ.ต.ต.อับดุลเลาะห์ เหล็มแดง พ.ต.ต.อับดุลเลาะห์ เหล็มแดงอาจารย์
อาจารย์ (สบ 2) กลุ่มงานอาจารย์ ศฝร.ภ.9 (สบ 2) กลุ่มงานอาจารย์ ศฝร.ภ.9
ชนิดตัวบ่งชี้ : กระบวนการ + ผลลัพธ์
วัตถุประสงค์
การบริการวิชาการเปนภารกิจอีกอยางหนึ่งของหนวยศึกษาอบรม จึงควรคํานึงถึงกระบวนการ
ในการใหบริการวิชาการแกสังคม โดยศึกษาความตองการของกลุมเปาหมายนํามาจัดทําแผนบริการวิชาการ
ประจําป ทั้งการบริการวิชาการที่ทําใหเกิดรายไดและการบริการวิชาการที่หนวยศึกษาอบรม จัดทําเพื่อสราง
ประโยชนแกชุมชน โดยมีการประเมินความสําเร็จของการบริการวิชาการ และนํามาจัดทําเปนแผน
เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนแกผูเรียนใหมีประสบการณจากสภาพจริงและนํามาใช้ประโยชนจนเกิดผลลัพธ์
ที่สรางความพึงพอใจตอชุมชนและสังคมอยางตอเนื่องและยั่งยืน
ประเด็นการพิจารณา
1. หน่วยศึกษาอบรมกำหนดชุมชนหรือองค์กรเป้าหมายและตอบสนองความต้องการพัฒนา
เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน สังคม โดยการนำศาสตร์พระราชามาประยุกต์ใช้
2. จัดทำแผนงานและโครงการบริการวิชาการหรือวิชาชีพ โดยผู้เรียนและชุมชนมีส่วนร่วม
(๐.๕ คะแนน) และดำเนินงานตามแผนงานและโครงการบริการวิชาการ หรือวิชาชีพที่กำหนด
โดยมีการกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จที่ชัดเจน (๐.๕ คะแนน)
3. ตรวจสอบและประเมินผลแผนงานและโครงการบริการวิชาการหรือวิชาชีพ นำไปสู่การปรับปรุง
และพัฒนาเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน อย่างน้อย 1 ชุมชน
4. ชุมชนสามารถดำเนินการพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่อง (๐.๕ คะแนน)
5. สามารถสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก ในการพัฒนาชุมชนหรือองค์กรเป้าหมาย
(๐.๕ คะแนน)
6. นำผลการดำเนินการบริการวิชาการหรือวิชาชีพ เสนอผู้บังคับบัญชาเพื่อพิจารณา (๐.๕ คะแนน)
พร้อมให้ข้อเสนอแนะนำไปสู่การปรับปรุงและพัฒนา (๐.๕ คะแนน)
เกณฑ์การให้คะแนน
ใช้คะแนนจากประเด็นการพิจารณา คะแนนเต็ม ๕
รายงานประเมินตนเอง (SAR) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
ศูนย์ฝึกอบรมตำรวจภูธรภาค 9