Page 79 - รายงานการประเมินตนเอง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
P. 79
ห น้ า | ๗๑
ตัวบ่งชี้ที่ ๑๒
ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
กลุ่มตัวบ่งชี้ ด้าน ชนิดของตัวบ่งชี้ น้้าหนัก
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน การพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน วัดจากกระบวนการ ร้อยละ ๕
ผู้รับผิดชอบ : ฝบศ.ศฝร.ศชต.
ผู้ก้ากับดูแลตัวบ่งชี้ ผู้จัดเก็บข้อมูลตัวบ่งชี้
พ.ต.ท.หญิง นภัสนันท์ ผาสุข ร.ต.อ.นุสนธ์ ปุยริพันธ์ รอง สว.ฯ
สว.ฝบศ.ฯ ร.ต.ท.สมใจ สุจจิต รอง สว.ฯ
วัตถุประสงค์
เพื่อสร้างจิตส านึกให้เห็นว่าเป็นความรับผิดชอบร่วมกันของทุกคนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
เพื่อเป็นหลักประกันแก่สาธารณชนให้มั่นใจได้ว่า หน่วยศึกษาอบรมสามารถสร้างผลผลิตที่มีคุณภาพ
ค้าจ้ากัดความ
นวัตกรรมด้านการประกันคุณภาพ หมายถึง แนวความคิด การปฏิบัติ สิ่งประดิษฐ์และเทคโนโลยี
ใหม่ๆ หรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงมาจากของเดิมที่มีอยู่แล้ว ให้ทันสมัยและให้ได้ผลดียิ่งขึ้นเมื่อน านวัตกรรม
มาใช้ช่วยให้การท างานด้านการประกันคุณภาพการศึกษานั้นได้ผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม
ทั้งยังช่วยประหยัดเวลาและแรงงานได้ด้วย
ประเด็นการพิจารณา
๑.มีการด าเนินการ
๑.๑ มีแนวทางหรือขั้นตอนการด าเนินการประกันคุณภาพภายในที่เหมาะสมและสอดคล้อง
กับพันธกิจของหน่วยศึกษาอบรม (๐.๕ คะแนน)
๑.๒ มีการด าเนินการตามแนวทางหรือขั้นตอนการด าเนินการประกันคุณภาพภายใน (๐.๕
คะแนน)
๒.มีการด าเนินการ
๒.๑ ให้ความส าคัญเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา โดยการแต่งตั้งคณะกรรมการประกัน
คุณภาพการศึกษาภายใน เพื่อก าหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ แนวทาง วิธีการตรวจสอบ ประเมินระบบกลไก
(๐.๓๓ คะแนน)
๒.๒ มีการก าหนดนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน (๐.๓๓ คะแนน)
๒.๓ มีการด าเนินการตามนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน (๐.๓๔ คะแนน)
๓.มีการด าเนินการ
๓.๑ จัดให้มีผู้รับผิดชอบด้านการประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีหน้าที่บริหาร พัฒนาและ
ติดตามการด าเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษา (๐.๕ คะแนน)
๓.๒ มีการประสานงานกับหน่วยงานภานอก (๐.๕ คะแนน)
รายงานประเมินตนเอง ศูนย์ฝึกอบรมต ารวจภูธรภาค ๙ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๐