Page 33 - รายงานการประเมินตนเอง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
P. 33
๒๕
ตัวบ่งชี้ จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะ การดำเนินการพัฒนา
สารสนเทศที่มีประสิทธิภาพซึ่งรูปแบบขององค์ ต่อได้ เข้าใจง่าย ปฏิบัติตามได้
ความรู้ที่ต้องจัดเก็บนั้นมีอยู่ 2 ประเภทคือ 3.มีการจัดเก็บองค์ความรู้ใน
1) ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit nowledge) เป็น รูปแบบของเอกสาร
ความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่าน
วิธีการต่าง ๆ เช่น การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร
ทฤษฎี คู่มือต่าง ๆ เอกสาร กฎระเบียบ วิธีการ
ปฏิบัติงาน สื่อต่างๆ เช่น VCD DVD Internet เป็น
ต้น หรือบางครั้งเรียกว่า ความรู้แบบรูปธรรม
2) ความรู้ที่ฝังอยู่ในตัวคน (Tacit Knowledge)
เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือ
สัญชาตญาณของ แต่ละบุคคลในการทำความเข้าใจ
ในสิ่งต่างๆ เป็นความรู้ที่ไม่สามารถถ่ายทอดออกมา
เป็นคำพูดหรือลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย เช่น
ทักษะในการทำงาน งานฝีมือ ประสบการณ์
แนวความคิด หรือความรู้ที่อยู่ในตัวบุคลากรของ
องค์กร หากไม่มีการจัดเก็บอย่างเป็นระบบ ความรู้
นั้นก็จะไม่ถูกนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กรได้
อย่างที่ควรจะเป็น ยกตัวอย่างเช่น เมื่อครูที่
เชี่ยวชาญงานด้านต่างๆ มีความรู้เรื่องระบบการ
ทำงานของแผนกเป็นอย่างดี ลาออกหรือปลด
เกษียณไป องค์กรจะทำอย่างไรจึงจะสามารถนำ
ความรู้ที่มีอยู่ในตัวบุคคลนั้นออกมาถ่ายทอดให้แก่
ครู อาจารย์ ท่านอื่นๆที่มารับหน้าที่แทนให้สามารถ
สานต่องานในตำแหน่งนั้นได้อย่างราบรื่น หรือเมื่อ
หน่วยศึกษาอบรมส่งครู อาจารย์ไปเข้ารับการอบรม
หรือเข้าร่วมการสัมมนาต่าง ๆ ความรู้ที่ครู อาจารย์
คนที่ได้รับมานั้น สามารถนำมาถ่ายทอดสู่ผู้ที่ไม่ได้
เข้ารับการอบรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ บางครั้งจึง
เรียกว่า ความรู้แบบนามธรรม
- ต้องกำหนดขอบเขตและเป้าหมายของการ
จัดการความรู้ก่อนที่จะมีจัดการความรู้ ซึ่งขอบเขต
ขององค์ความรู้เป็นหัวเรื่องกว้างๆของความรู้ที่
จำเป็นและสอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ตาม
แผนบริหารราชการแผ่นดิน ซึ่งต้องการจะนำมา
กำหนดเป้าหมายขององค์ความรู้ ซึ่งแต่ละองค์กร
สามารถใช้แนวทางในการกำหนดขอบเขตและ
เป้าหมายขององค์ความรู้ เพื่อจัดทำแผนการจัดการ
รายงานประเมินตนเอง (SAR) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
ศูนย์ฝึกอบรมตำรวจภูธรภาค 9