Page 83 - รายงานการประเมินตนเอง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
P. 83
ตัวบ่งชี้ที่ ๑๖ การบริหารความเสี่ยง
ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด ผู้จัดเก็บรวบรวมข้อมูล/รายงานผลการดำเนินงาน
พ.ต.ท.หญิง สุชาดา ด้วงเหมือน ร.ต.อ.หญิง ยุพเรศ หนูแก้ว
สว.ฝอ.ศฝร.ภ.9 รอง สว.ฝอ.ศฝร.ภ.9
ชนิดตัวบ่งชี้ : กระบวนการ+ผลลัพธ์
วัตถุประสงค์
เพื่อใหหนวยศึกษาอบรมมีกระบวนการดําเนินงานตาง ๆ ในการหาสาเหตุ ประเมินสถานการณจัดลําดับ
ความสําคัญความเสี่ยง และติดตามเฝาระวัง เพื่อลดสาเหตุและโอกาสที่จะเกิดความเสียหายดานชีวิต ทรัพยสิน
และสังคม ใหอยูในระดับที่สามารถบริหารจัดการได
ประเด็นการพิจารณา
1. มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของหน่วยศึกษาอบรม
2. วิเคราะห์ประเด็นความเสี่ยงที่เป็นความเสี่ยงภายในหรือความเสี่ยงภายนอกโดยเลือกปัจจัย
ที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงอย่างน้อย 3 ด้าน และระบุโอกาส ผลกระทบ พร้อมจัดลำดับความเสี่ยง
3. นำผลการวิเคราะห์ความเสี่ยงตามข้อ ๒ ไปจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง (๐.๕ คะแนน) โดยกำหนด
กิจกรรมหรือมาตรการเพื่อควบคุมหรือลดความเสี่ยง (๐.๕ คะแนน)
4. กำกับติดตาม การดำเนินงานในการบริหารความเสี่ยง โดยคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
ให้ข้อเสนอแนะ เพื่อการปรับปรุงและพัฒนา
5. สรุปผลการดำเนินการบริหารความเสี่ยง โดยอย่างน้อย 1 กิจกรรม ต้องมีความเสี่ยงลดลงจากเดิม
และนำผลลัพธ์ความเสี่ยงเสนอหัวหน้าหน่วยศึกษาอบรมเพื่อพิจารณา (๐.๕ คะแนน) และนำข้อเสนอแนะมา
ปรับปรุงความเสี่ยงในปีต่อไป (๐.๕ คะแนน)
เกณฑ์การให้คะแนน
ใช้คะแนนจากประเด็นการพิจารณา คะแนนเต็ม ๕
ผลการดำเนินงาน
หมายเลข
ผลการดำเนินงาน
เอกสารอ้างอิง
1. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของหน่วย
ศฝร.ภ.9 มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของหน่วย โดยมีผู้บังคับบัญชา เอกสารหมายเลข 1
ระดับสูง และผู้บังคับบัญชาทุกฝ่ายร่วมเป็นคณะกรรมการ มีการกำหนดกรอบนโยบายและ
แนวทางการบริหารความเสี่ยงของหน่วย จัดให้มีการระบุเหตุการณ์ความเสี่ยง ประเมินความ
เสี่ยง วางแผนบริหารจัดการความเสี่ยง รวมทั้งกำหนดมาตรการจัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับ
ที่ยอมรับได้ กำกับ ติดตามและประเมินผลประสิทธิผลของการบริหารจัดการความเสี่ยง
รายงานประเมินตนเอง (SAR) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563
ศูนย์ฝึกอบรมตำรวจภูธรภาค 9