Page 61 - รายงานการประเมินตนเอง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
P. 61
ห น้ า | ๔๘
ตัวบ่งชี้ที่ ๙
การบริหารความเสี่ยง
กลุ่มตัวบ่งชี้ ด้าน ชนิดของตัวบ่งชี้ น้้าหนัก
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน การบริหารและการ กระบวนการ ร้อยละ 6
พัฒนาหน่วยศึกษาอบรม
ผู้รับผิดชอบ : ฝอ.ศฝร.ศชต.
ผู้ก้ากับดูแลตัวบ่งชี้ ผู้จัดเก็บข้อมูลตัวบ่งชี้
พ.ต.ท.หญิง สุดา หวานนุ่น สว.ฝอฯ ร.ต.อ.หญิง ยุพเรศ หนูแก้ว รอง สว.ฯ
ร.ต.อ.สมยศ แก้วคงทน ผบ.มว.ฯ
วัตถุประสงค์
เพื่อให้หน่วยศึกษาอบรมมีกระบวนการด าเนินงานต่างๆ ในการหาสาเหตุ ประเมินสถานการณ์ จัดล าดับ
ความส าคัญความเสี่ยง และติดตามเฝ้าระวัง เพื่อลดสาเหตุและโอกาสที่จะเกิดความเสียหายด้านชีวิต
ทรัพย์สิน ชื่อเสียง และสังคม ให้อยู่ในระดับที่สามารถบริหารจัดการได้
ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือ
เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ซึ่งอาจเกิดขึ้นในอนาคต และมีผลกระทบหรือท าให้การด าเนินการไม่ประสบ
ความส าเร็จตามวัตถุประสงค์ เป้าประสงค์ และเป้าหมายของหน่วยศึกษาอบรม
คณะกรรมการสถานศึกษา หมายถึง องค์คณะบุคคลที่ท างานร่วมกับสถานศึกษา เพื่อให้สถานศึกษา
มีความเข้มแข็ง สามารถบริหารจัดการด้วยตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพตามกรอบที่กฎหมายก าหนด
จ านวนคณะกรรมการขึ้นอยู่กับขนาดของสถานศึกษา ประกอบด้วย ผู้แทนจากครู องค์กรชุมชน องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น ศิษย์เก่า พระภิกษุสงฆ์ หรือผู้แทนองค์กรศาสนาในพื้นที่ และผู้ทรงคุณวุฒิ
ประเด็นการพิจารณา
๑. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะท างานบริหารความเสี่ยง โดยมีผู้บริหารของหน่วยศึกษาอบรม และ
ตัวแทนที่รับผิดชอบเป็นคณะกรรมการหรือคณะท างาน
๒. มีการวิเคราะห์และระบุความเสี่ยง และปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงอย่างน้อย ๓ ด้านตาม
บริบทของหน่วยศึกษาอบรม
ตัวอย่างเช่น
- ความเสี่ยงด้านทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อาคาร สถานที่)
- ความเสี่ยงด้านยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ของส่วนงาน
- ความเสี่ยงด้านนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
- ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน เช่น ความเสี่ยงของกระบวนการบริหารหลักสูตร การบริหารงานวิจัย
ระบบงาน ระบบประกันคุณภาพ
- ความเสี่ยงด้านบุคลากรและความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล โดยเฉพาะจรรยาบรรณของครู/
อาจารย์ และครูฝึก และบุคลากร
- ความเสี่ยงจากเหตุการณ์ภายนอก